ตัวต้านทานปรับค่าได้ รหัส 102 คือมีค่าความต้านทาน 1K Ohm
ตัวต้านทาน SMD ค่า 1K Ohm ( Code 1001)
ตัวอย่างการใช้ตาราง
รหัสตัวเลขค่า R ของตัวต้านทานปรับค่าได้
ค่าที่นิยมใช้และมีจำหน่ ายในตลาดมีดังนี้ ตัวเลขที่ 1 และ 2 เป็นตัวตั้ง ตัวเลขที่ 3 เป็นจำนวนเลข 0
หรือตัวคูณ
100 = 10 Ohm มาจาก 10x100 = 10x1 = 10
200 = 20 Ohm มาจาก 20x100 = 20x1 = 20
500 = 50 Ohm มาจาก 50x100 = 50x1 = 50
101 = 100 Ohm มาจาก 10x101 = 10x10 = 100
201 = 200 Ohm มาจาก 20x101 = 20x10 = 200
501 = 500 Ohm มาจาก 50x101 = 50x10 = 500
102 = 1000 Ohm หรือ 1K Ohm มาจาก 10x102 = 10x100 = 1000
202 = 2000 Ohm หรือ 2K Ohm มาจาก 20x102 = 20x100 = 2000
502 = 5000 Ohm หรือ 5K Ohm มาจาก 50x102 = 50x100 = 5000
103 = 10000 Ohm หรือ 10K Ohm มาจาก 10x103 = 10x1000 = 10000
203 = 20000 Ohm หรือ 20K Ohm มาจาก 20x103 = 20x1000 = 20000
253 = 25000 Ohm หรือ 25K Ohm มาจาก 25x103 = 25x1000 = 25000
503 = 50000 Ohm หรือ 50K Ohm มาจาก 50x103 = 50x1000 = 50000
104 = 100000 Ohm หรือ 100K Ohm มาจาก 10x104 = 10x10000 = 100000
204 = 200000 Ohm หรือ 200K Ohm มาจาก 20x104 = 20x10000 = 200000
254 = 250000 Ohm หรือ 250K Ohm มาจาก 25x104 = 25x10000 = 250000
504 = 500000 Ohm หรือ 500K Ohm มาจาก 50x104 = 50x10000 = 500000
105 = 1000000 Ohm หรือ 1M Ohm มาจาก 10x105 = 10x100000 = 1000000
205 = 2000000 Ohm หรือ 2M Ohm มาจาก 20x105 = 20x100000 = 2000000
รหัสตัวเลขค่า R SMD
วิธีระบุค่า R SMD มี 2 แบบย่อยขึ้นอยู่กับผู้ผลิตและวิธีการการอ่านค่ามีรายละเอี ยดดังนี้
1. รหัสตัวเลข ที่ต้องแปลงค่า
1.1) แบบ 3 หลัก มีค่าความคลาดเคลื่อน ± 5%
1.2 ) แบบ 4 หลัก มีค่าความคลาดเคลื่อน ± 1%
2. รหัสตัวเลข ที่ต้องดูตารางค่ ามาตรฐานแล้วแปลงค่า
1. รหัสตัวเลข ที่ต้องแปลงค่า
1.1) แบบ 3 หลัก มีค่าความคลาดเคลื่อน ± 5%
100 = 10 Ω มาจาก 10 x 100 = 10 x 1 = 10
102 = 1000Ω มาจาก 10 × 102 = 10 x 100 = 1000 โอห์ม หรือ 1K Ohm
103 = 10000Ω มาจาก 10 × 103 = 10 x 1000 = 10000 โอห์ม หรือ 10K Ohm
270 = 27Ω มาจาก 27 × 100 = 27 x 1 = 27 Ohm
391 = 39Ω มาจาก 39 × 100 = 39 x 1 = 39 Ohm
3R3 = 3.3Ω โดย R หมายถึง จุดทศนิยมและมีหน่วยเป็น โอห์ม
R22 = 0.22Ω
4R7 = 4.7Ω
3K2 = 3.2KΩ โดย K หมายถึง จุดทศนิยมและมีหน่วยเป็น K โอห์ม
2M1 = 2.1MΩ โดย M หมายถึง จุดทศนิยมและมีหน่วยเป็น M โอห์ม
1.2) แบบ 4 หลัก มีค่าความคลาดเคลื่อน ± 1%
1000 = 100 Ω มาจาก 100 x100 = 100x1 = 100 โอห์ม
1001 = 1000 Ω หรือ 1K Ohm มาจาก 100 x101 = 100x10 = 1000 โอห์ม
1004 = 100KΩ มาจาก 100 x104 = 100x10000 = 1000000 โอห์ม
1500 = 150 Ω มาจาก 150 x100 = 150x1 = 150 โอห์ม
4992 = 49.9KΩ มาจาก 499 x102 = 499x100 = 49900 โอห์ม
1R00 = 1.00 Ω โดย R หมายถึง จุดทศนิยมและมีหน่วยเป็น โอห์ม
10R0 = 10.0 Ω
0R22 = 0.22 Ω
R020 = 0.020 Ω
R100 = 0.100 Ω
ตัวต้านทาน SMD ค่า 22 Ohm ( Code 22R0 )
ตัวต้านทาน SMD ค่า 1K Ohm ( Code 1001)
2. รหัสตัวเลข ที่ต้องดูตารางค่ ามาตรฐานแล้วแปลงค่า
เป็นรหัสตามมาตรฐาน EIA-96 ต้องดูตารางก่อนแล้วนำมาคูณกั น จะมีค่าที่ใช้เป็นตัวตั้ง 96 ค่าตามในตารางลักษณะรหัสตัวเลขมีตัวอย่างดังนี้ ตารางที่พูดถึงนี้ให้ค้น google คำว่า EIA-96 SMD Resistor Code หรือ E96 Resistance Value Code
รหัสตัวคูณ ( Multiplier Code )
Z = x 0.001
R or Y = x 0.01
S or X = x 0.1
A = x 1
B = x 10
C = x 100
D = x 1K
E = x 10K
F = x 100K
G = x 1M
H = x 10M
ตารางค่า R ตามมาตรฐาน EIA-96 Value Code
01Y = 1Ω จากค่าในตาราง 01 = 100 ตัวตั้ง และ Y = 0.01 ตัวคูณ ดังนั้น 100x0.01 = 1
01X = 10Ω 01 = 100 ตัวตั้ง และ X = 0.1 ตัวคูณ ดังนั้น 100x0.1 = 10 Ohm
01A = 100 01 = 100 ตัวตั้ง และ A = 1 ตัวคูณ ดังนั้น 100x0.1 = 100 Ohm
01B = 1kΩ 01 = 100 ตัวตั้ง และ B= 10 ตัวคูณ ดังนั้น 100x 10 = 1000 หรือ 1K
01C= 10kΩ 01 = 100 ตัวตั้ง และ C= 100 ตัวคูณ ดังนั้น 100x 100 = 10,000 หรือ 10K
01F = 10MΩ 01 = 100 ตัวตั้ง และ F= 100K ตัวคูณ ดังนั้น 100x 100K =10000K หรือ 10M
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น
หมายเหตุ: มีเพียงสมาชิกของบล็อกนี้เท่านั้นที่สามารถแสดงความคิดเห็น